วันเสาร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า

  พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า



Site location : ๒ ถนนหลานหลวง เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย แขวงวัดโสมนัสกรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐
การเดินทาง
รถประจำทางสาย  ๒, ๑๕, ๔๔, ๔๗, ๕๙, ๖๐, ๑๖๙
รถประจำทางปรับอากาศสาย  ๖๐, ๗๙, ๑๘๓, ๕๑๑
เรือโดยสารคลองแสนแสบ ขึ้นที่ท่าเรือผ่านฟ้า

 เปิดให้เข้าชมทุกวัน (เว้นวันจันทร์ วันปีใหม่ และวันสงกรานต์)
 ตั้งแต่เวลา ๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.

http://kingprajadhipokmuseum.org/visiting.html


อาคารพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

อาคารหลังนี้เริ่มก่อสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2449 ในปลายรัชกาลที่ 5 ใช้เวลาก่อสร้างทั้งสิ้น 6 ปี และเปิดให้เช่าเป็นที่ตั้ง "ห้างยอนแซมสัน" ดำเนินธุรกิจขายผ้าฝรั่งและตัดชุดสูทสากลที่มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ 6 ต่อมาเมื่อห้างยอนแซมสันเลิกกิจการ อาคารหลังนี้จึงเปลี่ยนเป็น "ห้างสุธาดิลก" ขายเครื่องก่อสร้างและเครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ จนกระทั่ง พ.ศ. 2476 กรมโยธาเทศบาลจึงเช่าอาคารใช้เป็นที่ทำการของกรม จนกระทั่งกรมนี้เปลี่ยนชื่อเป็นกรมโยธาธิการดังในปัจจุบัน
รูปแบบสถาปัตยกรรมของอาคารหลังนี้ออกแบบโดยนายชาร์ล เบเกอแลง สถาปนิกชาวฝรั่งเศส-สวิส เป็นอาคาร 3 ชั้น อิทธิพลสถาปัตยกรรมตะวันตกแบบนีโอคลาสสิค มีหอคอยยอดโดม ตกแต่งด้วยลายปูนปั้นแบบกรีก-โรมัน ในปี พ.ศ. 2538 กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนอาคารเป็นโบราณสถานแห่งชาติ อาคารกรมโยธาธิการหลังนี้ ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น จากสมาคมสถาปนิกสยาม

จากประตูทางเข้า เข้ามาจะเจอป้ายแผนผัง ประตูซ้ายคือห้องควบคุม ทางซ้ายคือโถงบันไดกลาง ทางขวาคือSITEงาน


เข้ามาหันไปทางขวาก็เจอSITEจริงของงานเราเลย

จากทางเข้ามองไปทางซ้าย เห็นโถงบันไดกลาง และฝ้า-คาน แบบเดิมๆ


ฝ้าเพด้านแบบเดิมๆ มีคานด้วยนะ และสังเกตุมีคิ้วเหมือนฐานปัทม์ตามจุดต่างๆ


ดีเทล บานประตู

ดีเทล โถงบันไดกลาง

ดีเทล หัวบันได โถงกลาง

ดีเทล พื้นบันไดโถงกลาง

ดีเทล ซุ้มประตู/เพดาน/หัวเสา

ลักษณะของช่องเปิดที่กั้นแต่ละห้อง จะเป็นช่องเล็กบ้างใหญ่บ้าง มีลายปูนปั้นตามดีเทล

ลายพื้นกระเบื้อง พบเห็นได้ทั่วไปภายในอาคาร


พื้นหิน บริเวณพื้นโถงบันไดกลาง

ต่อจากนี้จะเป็นรูปของSITEงานจริง แต่ตอนนี้กลางเป็นส่วนจัดแสดงไปแล้ว จึงเห็นแต่ฉากกันบ้าง เลยถ่ายรายละเอียดของระยะห้องมาแทนนะ จริงๆSITEเราเล็กมากๆเลย

เข้ามาปุ๊บเจอส่วนจัดแสดง เห้นฝ้า+แอร์มั้ย

ตรงนี้อยู่ทางขวามือ ที่เป็นโค้งๆตามแปลนอ่ะ

ฝ้างานระบบแบบชัดๆ

พอเลยหัวโค้งมา (จากทางเข้าไม่กี่ก้าวเอง) ข้างหน้าคือส่วนของออฟฟิช(ตามแปลน) พอมองลึกไปก็จะมองเห็นสีชมพู เป็นส่วนของผู้อำนวยการ(ตามแปลน)

งานระบบชัดๆ

พื้นที่ตรงนี้ตามแปลนคือ ห้องผู้อำนวยการ

จุดนี้มองจากกึ่งกลางห้องออฟฟิช (ในแปลน) แล้วมองไปทางขวามือ เป็นส่วนของแพนทรี่(ในแปลน) มีประตูล๊อคอยู่ พื้นที่ไม่ใหญ่มาก

แพนทรี่อีกมุม

ดีเทลส่วนโค้งของคาน

ดีเทล ประตู และที่จับ

มองจากส่วนของแพนทรี่

ดีเทล บัวพื้น

งานระบบ แบบชัดๆ ตรงส่วนออฟฟิช

อีกมุม ซ้ายเป็นห้องผู้อำนวยการ ขวาเป็นแพนทรี่

ซุ้มประตู ห้องศูนย์ประชาสัมพันธ์(ตามแปลน)ประตูขวาอ่ะ มองออกไปเป็นโถงทางเดินแคบๆ เลี้ยวซ้ายไปห้องนิทรรศการ (หรือในแปลนคือห้องประชุมนั่นเอง) เลี้ยวขวาไปโถงบันไดเล็ก และห้องน้ำหญิง
มองจาก ก่อนถึงบันไดเล็ก ในสุดคือห้องแม่บ้าน+ห้องน้ำหญิง เลี้ยวซ้ายสามารถออกจากอาคารได้ (รปภ.โหดมาก)



ดีเทล ซุ้มประตู


ดีเทล หน้าต่าง ติดกับบันไดเล็ก หน้าซุ้มประตู

ดีเทลหน้าต่าง

บัวพื้นของ โถงทางเดินริมอาคาร โค้งๆอ่ะ มีLEDติดอยู่



ดีเทล ซุ้มประตู

มองจาก ห้องประชุม ไปยัง โถงทางเดิน

ฝ้าเพดาน โถงทางเดิน
 ห้องน้ำ+โถงบันไดลิฟท์ ขออธิบายก่อนว่า ห้องน้ำหญิง ชาย อยู่คนละปีกอาคารกัน SITEที่เราได้มา มีแต่ห้องน้ำหญิงนะ ไม่ต้องไปเพิ่มห้องน้ำชายให้ เดินไปเองก็ถึง ไม่ไกล
มองจากหน้าห้องน้ำ

ดีเทล บันได

มองจากหน้าห้องน้ำไป โถงบันได เลี้ยวซ้ายเข้าห้องศูนย์ประชาสัมพันธ์(ตามแปลน)

ดีเทล หัวบันได

ดีเทล บันได

เข้ามายังห้องน้ำหญิง

ต้องเลี้ยวขวาอีกที

พื้นห้องน้ำหญิง

ห้องแม่บ้าน

ภายในห้องน้ำหญิง

อ่าง+กระจกห้องหน้าหญิง

ลิฟต์ แล้วประตูหลังอาคาร ไปยังอีกตึกนึงที่อยู่ข้างหลัง



SITE ของเราก็มีเท่านี้แหละ มาดูส่วนอื่นๆบ้าง










ในแปลนตรงนี้คือห้องประชุม ตอนนี้กลางเป็นส่วนจัดแสดง



เพิ่มคำอธิบายภาพ

โถงทางเดินแคบ กางแขนออกสองข้างก็ชิดผนังแล้ว นะ

งานระบบ


ตรงนี้อยู่อีกอาคารนึงคือ สวนบริการข้อมูลต่างๆ ซึ่งแต่เดิมก็อยู่ตามแปลนแหละ คือส่วนศูนย์ประชาสัมพันธ์
เรามาดูกันว่ามีอะไรบ้าง

มีชั้นหนังสือ นับได้ประมาณ 200-300 เล่ม

เคาท์เตอร์ มีบรรณารักษ์ และ พนักงานจดหมายเหตุ นั่งทำงานในส่วนนี้ 

โต๊ะมีที่พักเท้า เก้าอี้ล้อเลื่อน แอร์เย็นมาก

ชั้นหนังสือ

ลายกระเบื้องแบบเดิมๆ

ลายกระเบื้อง

ลายกระเบื้อง

ห้องน้ำ

ห้องน้ำ


USER


STAFF ส่วนออฟฟิช
มี 10 คน


1. ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ มี 1 คน
2. ภัณฑารักษ์ มี 2 คน คอยดูแลพิพิธภัณฑ์ ของต่างๆทุกๆชิ้น จะใช้งาน "ห้องคลัง" บ่อย เอาไว้เก็บของสำคัญๆ
3. นักวิชาการ มี 1 คน คอยเขียนบทความต่างๆในพิพิธภัณฑ์ และเขียนรายงานทางวิชาการ ต้องใช้เอกสารค้นคว้าเยอะ เขียนปีละ 1 เล่ม แล้วแต่ผู้อำนวยการสั่ง
4. พนักงานฝึกอบรม  มี 1 คน คอยดูแลและจัดกิจกรรมต่างๆของพิพิธภัณฑื เช่นงานวันเด็ก งานวันรัฐธรรมนูญ
5. พนักงานบริหารทั่วไป มี 2 คน เป็นฝ่ายสารบัญ ดูแลอาคารสถานที่ การซ่อมแซมปรับปรุง
6. พนักงานจดหมายเหตุ มี 1 คน อยู่ในห้องบริการข้อมูล ดูแลเอกสารหายากสำคัญๆ
7. พนักงานบรรณารักษ์ มี 1 คน อยู่ในห้องบริการข้อมูล ดูแลหนังสือต่างๆ

อื่นๆ - ฝ่ายโสตฯ รปภ. พนักงานจำหน่ายตั๋ว (อยู่นอกSITEงานเรา)


ผู้ใช้บริการ 


บุคลทั่วๆไปมาชม ,นักท่องเที่ยวต่างชาติ


นักเรียน/นักศึกษา มาทำรายงาน เรื่องรัชกาลที่ 7 , การปกครอง , สถาปัตยกรรม ฯลฯ
จากคณะต่างๆเช่น โบราณคดี ประวัติศาสตร์ อักษรศาสตร์ สถาปัตยกรรม รัฐศาสตร์ ตามลำดับ


นักวิชาการ มาหาเอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์